“Pyrolysis” Process จากงานวิจัยกับการพัฒนาสู่โรงงานต้นแบบ
ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกด้วยกระบวนการไพโรไลซิส ถุงพลาสติกใหม่และขยะพลาสติกจากการฝังกลบ คือใช้อุณหภูมิที่ 350-380 oC เป็นเวลา 2 ชั่วโมงที่ความดันบรรยากาศ
ส่วนสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกฝังกลบและถุงพลาสติกใหม่ ผลการทดสอบน้ำมันนั้นไม่สามารถนำไปใช้งานได้เลยทันที เนื่องจากน้ำมันที่ได้ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นน้ำมันชนิดใด จึงต้องนำมากลั่นและปรับปรุงคุณภาพเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกด้วยกระบวนการไพโรไลซิส ถุงพลาสติกใหม่และขยะพลาสติกจากการฝังกลบ คือใช้อุณหภูมิที่ 350-380 oC เป็นเวลา 2 ชั่วโมงที่ความดันบรรยากาศ
ส่วนสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติกฝังกลบและถุงพลาสติกใหม่ ผลการทดสอบน้ำมันนั้นไม่สามารถนำไปใช้งานได้เลยทันที เนื่องจากน้ำมันที่ได้ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นน้ำมันชนิดใด จึงต้องนำมากลั่นและปรับปรุงคุณภาพเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ถังบรรจุไนโตรเจน ใช้เติมไนโตรเจนแทนที่อากาศที่ความดันบรรยากาศ
น้ำมันที่ได้จากขยะใหม่จะมีความใสมาก
อย่างไรก็ตามหากเป็นเครื่องยนต์ทางการเกษตรขนาดเล็กน่าจะเหมาะสมกับกระบวนการพื้นฐานนี้ ปัจจุบันประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันอยู่ราว 60% ของน้ำหนักขยะ นับว่าเป็นตัวเลขที่สูง หากมีการปรับปรุงเพิ่มเติมให้เหมาะกับการใช้งานในชุมชนก็เยี่ยมเลย
การเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นน้ำมันไม่ใช่เรื่องใหม่ในประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า แต่สำหรับประเทศไทย นับเป็นก้าวที่สำคัญและควรสนับสนุนจากภาครัฐ และประชาชนทั่วไป
ขอขอบคุณ
ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด
คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
น้ำมันที่ได้จากขยะใหม่จะมีความใสมาก
หลังผ่านกระบวนการจะเหลือไขในรูปของแข็ง สามารถนำไปผสมทำเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่งได้
ปริมาณของเหลวและของแข็งที่ได้จากการไพโรไลซิสถุงพลาสติกใหม่
ปริมาณของเหลวและของแข็งที่ได้จากการไพโรไลซิสขยะพลาสติกฝังกลบ
อย่างไรก็ตามหากเป็นเครื่องยนต์ทางการเกษตรขนาดเล็กน่าจะเหมาะสมกับกระบวนการพื้นฐานนี้ ปัจจุบันประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันอยู่ราว 60% ของน้ำหนักขยะ นับว่าเป็นตัวเลขที่สูง หากมีการปรับปรุงเพิ่มเติมให้เหมาะกับการใช้งานในชุมชนก็เยี่ยมเลย
การเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นน้ำมันไม่ใช่เรื่องใหม่ในประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า แต่สำหรับประเทศไทย นับเป็นก้าวที่สำคัญและควรสนับสนุนจากภาครัฐ และประชาชนทั่วไป
ขอขอบคุณ
ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด
คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น